คณาจารย์

นายณรงค์ อมรเทพ
ตำแหน่ง อาจารย์
🚩 อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
✉️ narong_amo@ru.ac.th

ELT2105 (3) (EL215)
INTRODUCTION TO ELECTRONICS
PR : ELT2101
พื้นฐานทางฟิสิกส์ของสารกึ่งตัวนำและรอยต่อ พี-เอ็น คุณลักษณะและการประยุกต์ใช้งานของไดโอด ออปแอมป์ ทรานซิสเตอร์ เจเฟต มอสเฟต เทคโนโลยีไบซีมอสและซีมอส คุณลักษณะกระแส-แรงดันและคุณลักษณะทางความถี่ของอุปกรณ์ การไบอัสของวงจรทรานซิสเตอร์ ไบโพลาร์และเฟต การวิเคราะห์และออกแบบวงจรที่ใช้ทรานซิสเตอร์ไบโพลาร์และมอสเฟต คู่ดาร์ลิงตัน ออปแอมป์ และการประยุกต์ใช้งาน
Basic physics of semiconductor and p-n junction, characteristics and applications of diodes amplifiers transistors JFET MOSFET BiCMOS and CMOS technologies, device current-voltage and frequency characteristics, biasing BJT and FET circuits, analysis and design of BJT and MOSFET circuits, Darlington pair, operational amplifier, and its applications.

(EL313,EY313)
POWER ELECTRONICS I
PR: ELT2105
อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำกำลัง วงจรขับ วงจรสนับเปอร์ ตัวแปลง AC/DC ที่มีการควบคุมและไม่มีการควบคุม ตัวกรองอินพุตและฮาร์โมนิกส์ การแก้ไขตัวประกอบกำลัง ตัวแปลง AC/DC ที่ใช้ PWM การควบคุมตัวแปลง AC/DC การควบคุมแรงดันกระแสสลับ ไทริสเตอร์ ตัวแปลง DC-DC และซอฟฟ์เปอร์ แหล่งจ่ายกำลังโหมดสวิทช์ อินเวอร์เตอร์จ่ายกระแสและแรงดัน การประยุกต์ใช้งานอิเล็กทรอนิกส์กำลัง

(EL318,EY318)
SEMICONDUCTOR DEVICES
PR : ELT2103
อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำ คุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำ ทฤษฎีแถบพลังงาน การนำพาประจุ การโด๊ปสารกึ่งตัวนำ การนำไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำ ผลของสนามแม่เหล็กที่มีต่อสารกึ่งตัวนำ คุณสมบัติด้านแสงของสารกึ่งตัวนำ การแพร่กระจายของอนุภาคในสารกึ่งตัวนำ รอยต่อชนิดต่างๆของสารกึ่งตัวนำ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ การประดิษฐ์อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ วิเคราะห์และการออกแบบอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ

(EL319)
POWER ELECTRONICS LABORATORY I
PR : ELT3103
ปฏิบัติการเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
Laboratory practices related to power electronics.
